- องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
         - องค์ประกอบที่มีชีวิต
     ความสัมพันธ์ในระนิเวศ
         - ภาวะเป็นกลาง
         - ภาวะการแข่งขัน
         - ภาวะอะเมนลิซึม
         - ภาวะล่าเหยื่อ
         - ภาวะเกื้อกูล
         - ภาวการได้ประโยชน์ร่วมกัน
         - ภาวะพึ่งพากัน
         - ภาวะปรสิต
         - ภาวะมีการย่อยสลาย
         - ภาวะมีการหลั่งสารห้ามการเจริญ
     วัฏจักรของธาตุ
          - วัฏจักรของคาร์บอน
          - วัฏจักรของออกซิเจน
          - วัฏจักรของไนไตรเจน
          - วัฏจักรของกำมะถัน
          - วัฏจักรของฟอสฟอรัส
          - วัฏจักรของน้ำ
          - วัฏจักรของแคลเซียม
          - การถ่ายทอดสารพิษในระบบนิเวศ
     ระบบนิเวศภาคพื้นทวีป
          - ระบบนิเวศแบบทะเลทราย
          - ระบบนิเวศแบบทุ่งหญ้า
          - ระบบนิเวศแบบป่าไม้
          - ระบบนิเวศแบบทุนดรา
     ระบบนิเวศภาคพื้นน้ำ
          - ระบบนิเวศแบบน้ำจืด
          - ระบบนิเวศแบบน้ำเค็ม
     การถ่ายทอดพลังงาน
          - กระบวนการถ่ายทอดพลังงาน
          - ประสิทธิภาพการส่งต่อพลังงาน

 

ระบบนิเวศภาคพื้นทวีป

           กลุ่มสิ่งมีชีวิตชนิดเด่นบนบกหรือภาคพื้นทวีปจะถูกกำหนดโดยพืช ผืนแผ่นดินขนาดใหญ่ที่มีสิ่งแวดล้อมและกลุ่มสิ่งมีชีวิตพวกพืชมีลักษณะคล้ายคลึงกัน เรียกว่า ชีวนิเวศ (Biomes) หรืออาจกล่าวได้ว่า ชีวนิเวศเกิดจากการรวมระบบนิเวศแบบเดียวกันไว้ด้วยกัน โดยมีปริมาณน้ำฝนและอุณหภูมิเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อชีวนิเวศที่กระจายอยู่บนภาคพื้นทวีป ระบบนิเวศภาคพื้นทวีปมีหลายแบบ ที่สำคัญมี 4 แบบดังนี้

          1. ระบบนิเวศแบบทะเลทราย
          2. ระบบนิเวศแบบทุ่งหญ้า
          3.
ระบบนิเวศแบบป่าไม้
          4. ระบบนิเวศแบบทุนดรา