พื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมและ
การจัดการทรัพยากร
ควาหมายและขอบเขตของ
การศึกษาสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาแนวความคิดเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมของมนุษย์
แนวทางและหลักการพัฒนา
ทางสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบที่สำคัญของ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับ
คุณภาพชีวิต
 
กระบวนการศึกษาทางวิทยาศาสตร์
- ลำดับขั้นของกระบวนการ
การศึกษานอกสถานที่
การใช้สื่อต่าง ๆ
การจัดกิจกรรมพิเศษ
การจัดโครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การสำรวจ วิเคราะห์ และทำรายงาน
ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ตัวอย่างการใช้และการจัดการ
สิ่งแวดล้อมในประเทศ
ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับ
สิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
 
 
   
   
   
   
   
 
   
   
   
 
   
   
   
 

      

            1. ทรัพยากรธรรมชาตินั้นมีความอุดมสมบูรณ์ และคํานึงถึงผลกระทบในการใช้ทรัพยากรนั้น การใช้ทรัพยากรต้องมีการบํารุงรักษา ใช้ในขอบเขตที่ทรัพยากรนั้นๆ จะคืนสู่สภาพปกติได้ เช่น การตัดไม้ในป่า ควรตัดแต่ไม้ที่มีขนาดใหญ่แล้ว และปล่อยไม้ขนาดเล็กไว้เพื่อให้เติบโตต่อไป ไม่ใช่การตัดแบบไม่ให้เหลือซากเลย นอกจากนี้อาจต้องชลออัตราการใช้ทรัพยากรลงบ้าง หรือใช้ทรัพยากรอื่นทดแทน รวมทั้งต้องรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว์ไว้ เพื่อให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศอยู่ในสมดุล

               2. เศรษฐกิจที่มั่นคงของชุมชน การพัฒนาที่ยั่งยืนจะเกิดขึ้นเมื่อเศรษฐกิจดีอย่างต่อเนื่องด้วยการสร้างงานให้กับชุมชน เพื่อที่ประชากรในชุมชนจะได้ไม่ออกไปขายแรงงานต่างถิ่น

               3. คุณภาพชีวิตที่ดีของประชากร ส่งเสริมให้ประชาชนอยู่ดีกินดี มีมาตรฐานการครองชีพที่ดี มีที่อยู่อาศัยถูกสุขลักษณะ ปราศจากมลพิษและขยะ มีการวางแผนการจัดการในการใช้ที่ดินโดยมีการวางผังเมือง แยกพื้นที่ที่อยู่อาศัยออกจากพื้นที่อุตสาหกรรม เป็นต้น